วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2558

หนว่ยการเรียนรู้ที่ 1

1.เซต 

ใช้แทนกลุ่มของคน,สัตว์,สิ่งของ หรือสิ่งที่เราสนใจ เราใช้เครื่องหมายปีกกา“{ } ”แสดงความเป็นเซต และสิ่งที่อยู่ภายในปีกกา  เราเรียกสมาชิกของเซต

เซตที่เท่ากัน

เซต 2 เซตจะเท่ากันก็ต่อเมื่อจำนวนสมาชิกและสมาชิกของทั้ง 2 เซต เหมือนกันทุกตัว

เช่น A={1,2,3}          B={1,2,3}     จะได้ A=B

เซตที่เทียบเท่ากัน

เซต 2 เซตจะเทียบเท่ากันก็ต่อเมื่อ จำนวนสมาชิกของทั้ง 2 เซต เท่ากัน

เช่น  A={a,b,c}   ,     B={1,2,3}

จำนวนสมาชิกของ A= จำนวนสมาชิกของ B= 3 ตัว
n( A ) = n ( B ) = 3 ดังนั้น..อ่านเพิ่มเติม

2.สับเซตและพาวเวอร์เซต






สับเซต (Subset) ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียนว่า
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A  B
ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A  B
           สมบัติของสับเซต
1) A  A (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของตัวมันเอง)
2) A  U (เซตทุกเซตเป็นสับเซตของเอกภพสัมพัทธ์)
3) ø  A (เซตว่างเป็นสับเซตของอ่านเพิ่มเติม
  3.ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต



ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A  B
ตัวอย่างเช่น
A ={1,2,3}
B= {3,4,5}
 A  B = {1,2,3,4,5}
อินเตอร์เซกชัน (Intersection) มีนิยามคือ เซต A อินเตอร์เซกชันเซต B คือ เซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A และเซต B สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A  B
ตัวอย่างเช่นอ่านเพิ่มเติม



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น